QS Quacquarelli Symonds ขอประกาศผลการจัดอันดับ 500 มหาวิทยาลัยที่ดีที่สุดในเอเชีย โดย National University of Singapore กลับมาครองอันดับหนึ่งอีกครั้ งจากNanyang Technological University ขณะที่ University of Hong Kong ไต่ขึ้นมา 3 อันดับมาอยู่ที่อันดับ 2 อย่างไรก็ดี จีนแผ่นดินใหญ่มีจำนวนมหาวิ ทยาลัยที่ทำอันดับได้น่าประทั บใจที่สุด โดยมีจำนวนมหาวิทยาลัยที่ติด 20 อันดับแรกมากถึง 5 แห่ง เพิ่มขึ้น 2 แห่งจากปีที่ผ่านมา และทุกแห่งล้วนมีอันดับดีขึ้น ส่วนญี่ปุ่นมีจำนวนมหาวิทยาลั ยที่ติดอันดับมากเป็นอันดับ 2 ตามมาด้วยอินเดียและเกาหลีใต้
จำนวนมหาวิทยาลัยที่ติดอันดั บตามประเทศและดินแดน
จีนแผ่นดินใหญ่
|
112
|
ญี่ปุ่น
|
89
|
อินเดีย
|
75
|
เกาหลี
|
57
|
ไต้หวัน
|
36
|
มาเลเซีย
|
26
|
ปากีสถาน
|
23
|
อินโดนีเซีย
|
22
|
ไทย
|
19
|
ฟิลิปปินส์
|
8
|
เขตปกครองพิเศษฮ่องกง
|
7
|
เวียดนาม
|
7
|
บังกลาเทศ
|
6
|
ศรีลังกา
|
4
|
สิงคโปร์
|
3
|
มาเก๊า
|
2
|
บรูไน
|
2
|
ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลั ยในเอเชียประจำปี 2019 ของ QS (20 อันดับแรก)
อันดับปี 2019
|
อันดับปี 2018
|
ประเทศ/ดินแดน
| |
1
|
2
|
National University of Singapore
|
สิงคโปร์
|
2
|
5
|
University of Hong Kong
|
ฮ่องกง
|
3=
|
1
|
Nanyang Technological University
|
สิงคโปร์
|
3=
|
6
|
Tsinghua University
|
จีน
|
5
|
9
|
Peking University
|
จีน
|
6
|
7
|
Fudan University
|
จีน
|
7
|
3
|
Hong Kong University of Science and Technology
|
ฮ่องกง
|
8
|
4
|
Korea Advanced Institute of Science and Technology
|
เกาหลี
|
9
|
10
|
The Chinese University of Hong Kong
|
ฮ่องกง
|
10
|
11
|
Seoul National University
|
เกาหลี
|
11
|
13
|
The University of Tokyo
|
ญี่ปุ่น
|
12
|
16
|
Korea University
|
เกาหลี
|
13
|
21
|
Zhejiang University
|
จีน
|
14
|
17
|
Kyoto University
|
ญี่ปุ่น
|
15
|
18
|
Sungkyunkwan University
|
เกาหลี
|
16
|
15
|
Osaka University
|
ญี่ปุ่น
|
17
|
19
|
Yonsei University
|
เกาหลี
|
18
|
14
|
Tokyo Institute of Technology
|
ญี่ปุ่น
|
19=
|
24
|
Universiti Malaya
|
มาเลเซีย
|
19=
|
22
|
Shanghai Jiao Tong University
|
จีน
|
QS ใช้เกณฑ์ชี้วัด 11 ประการในการจัดอันดับมหาวิทยาลั ย โดยได้ออกสำรวจความคิดเห็นของนั กวิชาการทั้งสิ้น 83,877 ราย และผู้สรรหาพนักงานใหม่ 42,862 รายทั่วโลก
เกณฑ์ชี้วัด
|
ประเทศ/ดินแดนที่โดดเด่นที่สุด
|
จำนวนมหาวิทยาลัยที่ติด 100 อันดับแรก
|
ชื่อเสียงทางวิชาการ
|
จีน
|
25
|
ชื่อเสียงนายจ้าง
|
ญี่ปุ่น
|
15
|
อัตราส่วนคณาจารย์ต่อนักศึกษา
|
ญี่ปุ่น
|
31
|
บุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาระดั
|
อินเดีย
|
20
|
จำนวนการอ้างอิงต่องานวิจัย
|
จีน
|
42
|
จำนวนงานวิจัยต่อคณะ
|
จีน
|
35
|
เครือข่ายวิจัยระดับสากล
|
จีน
|
35
|
อัตราส่วนคณะที่เป็นสากล
|
จีน
|
25
|
อัตราส่วนนักศึกษาต่างชาติ
|
จีน
|
17
|
นักศึกษาแลกเปลี่ยนเข้า
|
ไต้หวัน
|
22
|
นักศึกษาแลกเปลี่ยนไปต่างประเทศ
|
จีน
|
33
|
*มหาวิทยาลัยที่ติดอันดับทั้ งหมดในประเทศ/ดินแดนเหล่านี้ มีอันดับติด 100 อันดับแรกในเกณฑ์บ่งชี้ บางประการ
เกณฑ์ชี้วัด
|
ประเทศ/ดินแดนที่โดดเด่นรองลงมา
|
จำนวนมหาวิทยาลัยที่ติด 100อันดับแรก
|
ประเทศ/ดินแดนที่ติด 100 อันดับแรกทั้งหมด*
|
ชื่อเสียงทางวิชาการ
|
ญี่ปุ่น
|
14
| |
ชื่อเสียงนายจ้าง
|
เกาหลี
|
13
|
สิงคโปร์
|
อัตราส่วนคณาจารย์ต่อนักศึกษา
|
เกาหลี
|
20
|
บรูไน
|
บุคลากรที่มีวุฒิการศึกษาระดั
|
เกาหลี
|
17
| |
จำนวนการอ้างอิงต่องานวิจัย
|
เกาหลี
|
18
|
ฮ่องกง สิงคโปร์
|
จำนวนงานวิจัยต่อคณะ
|
อินเดีย
|
26
| |
เครือข่ายวิจัยระดับสากล
|
ญี่ปุ่น
|
16
| |
อัตราส่วนคณะที่เป็นสากล
|
มาเลเซีย
|
18
|
บรูไน ฮ่องกง มาเก๊า สิงคโปร์
|
อัตราส่วนนักศึกษาต่างชาติ
|
มาเลเซีย
|
16
|
บรูไน ฮ่องกง มาเก๊า สิงคโปร์
|
นักศึกษาแลกเปลี่ยนเข้า
|
เกาหลี
|
21
| |
นักศึกษาแลกเปลี่ยนไปต่างประเทศ
|
เกาหลี
|
22
|
บรูไน ฮ่องกง สิงคโปร์
|
เบน โซวเทอร์ ผู้อำนวยการฝ่ายการวิจัยของ QS กล่าวว่า “การที่จีนแผ่นดินใหญ่ได้ทุ่ มลงทุนอย่างมหาศาลในการศึ กษาและวิจัยนั้นเริ่มปรากฏให้ เห็นผลลัพธ์แล้ว ความแข็งแกร่งของญี่ปุ่นก็เป็ นที่ประจักษ์ เช่นเดียวกับบทบาทของอินเดี ยในระดับภูมิภาค ผลการจัดอันดับนี้ยังชูให้เห็ นศักยภาพทางการแข่งขันของศูนย์ กลางด้านการศึกษาที่มี ประชากรและทรัพยากรน้อยกว่า โดยสิงคโปร์ ฮ่องกง เกาหลีใต้ และมาเลเซีย มีความโดดเด่นอย่างเห็นได้ชัด”
ดูรายงานการจัดอันดับฉบับเต็ มได้ที่: https://www. topuniversities.com/ university-rankings/asian- university-rankings/2019
No comments:
Post a Comment