ข้อมูลสำคัญ:
- ร้อยละ 91 ของธนาคารไทยเชื่อว่า AI จะหยุดการฟอกเงินได้มากขึ้น
- ร้อยละ 95 ของธนาคารไทยยังคงเชื่อมั่
นในการใช้ระบบ Rules-based แบบเก่าเพื่อการปฏิบัติ ตามกฎหมายว่าด้วย AML ขณะที่ธนาคารร้อยละ 82 ระบุว่าประสบกับความยากลำบากอย่ างมากในการเปลี่ยนแปลงระบบเหล่ านี้ - ธนาคารร้อยละ 100 ในประเทศไทย ระบุว่า จะลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อการปฏิ
บัติตามกฎหมายว่าด้ วยอาชญากรรมทางเงินในช่วงหนึ่ งปีข้างหน้า และร้อยละ 41 มีแผนจะเพิ่มการลงทุนด้านนี้อย่ างมีนัยสำคัญในปี 2564
ข้อมูลเพิ่มเติม: คลิกลิงก์เพื่ออ่านรายงานบนเว็ บไซต์ FICO.COM
ผลการสำรวจล่าสุดโดย FICO บริษัทซอฟต์แวร์วิเคราะห์ข้อมู ลระดับโลก พบว่า แม้ธนาคารไทยร้อยละ 91 เชื่อว่า AI จะช่วยสนับสนุนการดำเนิ นการในการป้องกั นและปราบปรามการฟอกเงินให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ธนาคารหลายแห่งยังคงไม่แน่ ใจเกี่ยวกับวิธีการใช้เทคโนโลยี ขั้นสูง
ในทางกลับกัน เมื่อถามถึงประสิทธิ ภาพของเทคโนโลยี Rules-based แบบเก่าที่ใช้กันมานาน ธนาคารไทยร้อยละ 95 ระบุว่ายังคงเชื่อมั่ นในความสามารถของระบบ AML เหล่านี้ แม้ธนาคารร้อยละ 82 ระบุว่าประสบกับความยากลำบากอย่ างมากในการเปลี่ยนแปลงระบบดั งกล่าว
"ระบบ Rules-based ยังคงเป็นเครื่องมือสำคัญที่ ธนาคารในเอเชียแปซิฟิกใช้เพื่ อต่อสู้กับอาชญากรรมทางการเงิน" Timothy Choon ผู้อำนวยการฝ่ ายอาชญากรรมทางการเงินประจำภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟิกของ FICO กล่าว "อย่างไรก็ดี ปัจจุบันเริ่มมีธนาคารบางแห่ งเปิดรับเทคโนโลยีใหม่อย่าง AI แล้ว และตระหนักได้ว่าระบบแบบ Rules-based ที่ใช้มานานนับทศวรรษนั้น ไม่สามารถตามทันกลโกงรูปแบบใหม่ ที่มีความซับซ้อนได้
"สูตรลับความสำเร็จก็คือการใช้ เทคโนโลยี AI โดยให้เทคโนโลยีขั้นสูงนี้ ทำงานควบคู่กับระบบแบบ Rules-based แต่ในความเป็นจริงแล้ว ผู้ตอบแบบสำรวจร้อยละ 20 เลือกข้อนี้เป็นอุปสรรคสำคั ญในการบรรลุเป้ าหมายการบรรเทาความเสี่ ยงจากอาชญากรรมทางการเงิน"
ผลสำรวจระดับภูมิภาคแสดงให้เห็ นว่า ความท้าทายที่สำคัญสำหรับการใช้ โซลูชัน AML แบบเดิมนั้น ได้แก่ ความสามารถในการจัดการกั บความเสี่ยงประเภทใหม่ ๆ ในช่องทางและผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ, ความสามารถในการจัดหาโซลูชั่ นการปฏิบัติตามกฎแบบครบวงจรตั้ งแต่ต้นจนจบ และความสะดวกรวดเร็วในเปลี่ ยนแปลงตามกฎระเบียบใหม่ ๆ
ผลสำรวจยังเผยด้วยว่า ธนาคารข้ามชาติขนาดใหญ่ในภูมิ ภาคเอเชียแปซิฟิก มีแนวโน้มมากกว่าที่จะใช้โซลูชั่ น AML ของบริษัทชั้นนำของโลกเวนเดอร์ ขณะที่ธนาคารในประเทศเลือกที่ จะใช้ระบบภายใน (in-house) กันมากกว่า
ปัจจัยสำคัญที่ขับเคลื่ อนแผนงานด้านอาชญากรรมทางการเงิ น
หนึ่งในดัชนีชี้นำที่ผลักดันให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงในกลยุทธ์ การจัดการอาชญากรรมทางการเงิน คือ ประสบการณ์ของลูกค้า ผู้ตอบแบบสำรวจกว่าสองในห้าจั ดอันดับให้เรื่องนี้เป็นปัจจั ยที่ต้องพิจารณาเป็นอันดับต้น ๆ โดยร้อยละ 17 ของธนาคารในเอเชียแปซิฟิก ยกให้เรื่องนี้เป็นปัจจัยสำคั ญที่สุดที่อยู่เบื้องหลั งแนวทางการดำเนินกลยุทธ์ทั้ งในปัจจุบันและอนาคต
"เรามองเห็นว่า การปฏิบัติตามกฎระเบี ยบและการสร้างประสบการณ์ที่ดี ให้กับลูกค้า ยังคงเป็นสิ่งที่สถาบันการเงิ นส่วนใหญ่ต้องทำควบคู่กันไป" Choon กล่าว "ธนาคารจำเป็นต้องมีข้อมูลมากขึ้ นเพื่อจัดการกับการเตือนภั ยจำนวนมากที่มาจากระบบที่ไร้ ประสิทธิภาพ แต่ขณะเดียวกันก็ต้องไม่รบกวนลู กค้าด้วยการถามคำถามเพื่ อสอบทานธุรกิจอย่างไม่หยุดหย่ อน"
ปัจจัยพิจารณาเพิ่มเติมที่อยู่ ในอันดับสองและสามจากการจัดอั นดับของธนาคาร ได้แก่ ความเสียหายต่อชื่อเสียง และความสูญเสียทางการเงินโดยตรง โดยเมื่อกล่าวถึงความท้าทายด้ านอาชญากรรมทางการเงินนั้น ผู้ตอบแบบสำรวจเกือบครึ่งระบุถึ งความรวดเร็วในการจัดการกับภั ยคุกคามใหม่ ๆ ขณะที่หนึ่งในสามเชื่อว่า การตรวจจับภัยคุกคามได้อย่างถู กต้องแม่นยำยังคงเป็นบททดสอบที่ สำคัญ
โซลูชั่นการปฏิบัติ ตามกฎแบบครบวงจรของ FICO (FICO's comprehensive compliance solution) เกิดจากการรวมเทคนิคขั้นสูงด้ านการเรียนรู้ของเครื่อง (machine learning) ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อจัดการกั บความท้าทายเหล่านี้ด้วยการปรั บปรุงความแม่นยำในการตรวจสอบให้ ดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ผ่านโมเดลการวิเคราะห์ข้อมูลขั้ นสูงที่จดสิทธิบัตรแล้ว อาทิ Soft Clustering Misalignment และ Threat Score ซึ่งช่วยให้สถาบันการเงินต่าง ๆ สามารถใช้ AI ภายในแผนกลยุทธ์การปฏิบัติ ตามกฎระเบียบที่มีอยู่แล้วได้
การลงทุนในเทคโนโลยีการปฏิบัติ ตามกฎ
ธนาคารส่วนใหญ่ (93%) ทั่วเอเชียแปซิฟิกมีแนวโน้มที่ จะใช้จ่ายงบประมาณด้านเทคโนโลยี ไปกับการอัปเกรดหรือไม่ก็ปรั บปรุงระบบการปฏิบัติตามกฎที่ใช้ อยู่เดิม อย่างไรก็ดี ในสิงคโปร์ และ ฮ่องกง ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางการเงินที่ สำคัญของภูมิภาค พบว่า มีผู้ตอบแบบสำรวจเพี ยงสองในสามที่ระบุว่า ธนาคารของพวกเขาอาจจะเริ่ มการลงทุนใหม่ในเทคโนโลยีการปฏิ บัติตามกฎ เมื่อพิจารณาจากการใช้จ่ายในด้ านนี้ที่เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่ วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา
สำหรับในประเทศไทย ร้อยละ 100 ของธนาคารระบุว่าจะลงทุ นในเทคโนโลยีการปฏิบัติตามกฎต่ อไปในช่วงหนึ่งปีข้างหน้า และร้อยละ 41 มีแผนจะเพิ่มการลงทุนด้านนี้อย่ างมีนัยสำคัญในปี 2564
ทั้งนี้ คาดว่าระดับการลงทุนโดยรวมในด้ านเทคโนโลยีปฏิบัติ ตามกฎของธนาคารในเอเชียแปซิฟิ กจะเพิ่มขึ้นในปี 2564 โดยผู้ตอบแบบสำรวจร้อยละ 49 ระบุว่าจะเพิ่มงบประมาณ ขณะที่อีกร้อยละ 34 คาดว่าจะเพิ่มงบประมาณอย่างมีนั ยสำคัญ และที่น่าสนใจคือ ธนาคารต่างชาติมีแนวโน้มมากกว่ าที่จะเริ่มการลงทุนใหม่ เมื่อเทียบกับธนาคารในประเทศ โดยอินโดนีเซีย ออสเตรเลีย ไทย และฟิลิปปินส์เป็นตลาดที่คาดว่ าจะมีการลงทุนมากที่สุดในปี 2564
"ผลสำรวจฉบับนี้ซึ่งจัดทำในเดื อนพ.ค. แสดงให้เห็นว่า แม้เศรษฐกิจตกต่ำเนื่ องจากโรคระบาด แต่ธนาคารก็ยังคงมีความตั้งใจที่ จะลงทุนแบบเล็งเป้าหมายเพื่อเพิ่ มประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ตามกฎหมายว่าด้วย AML" Choon กล่าว "มีความตั้งใจมากขึ้นที่จะรับรู้ ว่า การปฏิบัติตามกฎและการฉ้อโกงเป็ นความเสี่ยงด้ านอาชญากรรมทางการเงินที่พบได้ ทั่วไป เพราะมีแนวโน้มมากขึ้นที่ คนโกงจะทำการฟอกเงิน
"การมาบรรจบกันนี้ถือเป็นเทรนด์ ที่เกิดขึ้นทั่วโลก เพราะธนาคารในสหรัฐอเมริ กาและในสหราชอาณาจักรก็อยู่ ระหว่างการผนวกรวมส่วนงานด้ านการปฏิบัติตามกฎกับส่วนงานด้ านการป้องกันการฉ้อโกงเข้าด้ วยกันทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็นการรวมทีมงาน ผู้บริหาร และเทคโนโลยี เราจึงเชื่อว่า ธนาคารในเอเชียแปซิฟิกกำลั งจะมองมาที่ตลาดเหล่านี้เพื่อดู ว่าความพยายามดังกล่าวจะได้ ผลหรือไม่ พร้อมทั้งมีแผนที่จะทำตามอย่ างรวดเร็วในอีก 24-36 เดือนข้างหน้า"
Integrated AML Compliance Survey ของ FICO จัดทำขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2563 โดยใช้แบบสอบถามเชิงปริ มาณทางออนไลน์เพื่อสำรวจความคิ ดเห็นของผู้บริหารอาวุโส 256 คนจากธนาคารใน 11 ประเทศ ซึ่งบริษัทวิจัยอิสระแห่งหนึ่ งดำเนินการสำรวจในนามของ FICO ครอบคลุมออสเตรเลีย ฮ่องกง อินโดนีเซีย มาเลเซีย นิวซีแลนด์ ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ไทย และเวียดนาม
เกี่ยวกับ FICO
FICO (NYSE: FICO) ขับเคลื่อนการตัดสินใจต่าง ๆ ที่ช่วยให้ผู้คนและธุรกิจทั่ วโลกเจริญก้าวหน้า บริษัทก่อตั้งขึ้นในปี 2499 และมีสำนักงานใหญ่อยู่ในซิลิ คอนวัลเลย์ บริษัทเป็นผู้บุกเบิกการใช้ การวิเคราะห์ข้อมูลเชิ งทำนายและวิทยาศาสตร์ข้อมูลเพื่ อปรับปรุงการตัดสินใจด้ านการดำเนินงานให้ดีขึ้น ปัจจุบัน FICO มีสิทธิบัตรในสหรัฐและต่ างประเทศจำนวนกว่า 195 ฉบับ ซึ่งเกี่ยวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่เพิ่มความสามารถในการทำกำไร ความพึงพอใจของลูกค้า และการเติบโตของธุรกิจในด้านบริ การทางการเงิน การผลิต โทรคมนาคม การดูแลสุขภาพ ค้าปลีก และอุตสาหกรรมอื่นๆ อีกมากมาย โซลูชั่นของ FICO ช่วยให้ธุรกิจในกว่า 100 ประเทศทำได้ทุกอย่าง ตั้งแต่ป้องกันการฉ้อโกงบั ตรเครดิต/บัตรเดบิต 2.6 ล้านใบ ช่วยให้ผู้คนได้รับสินเชื่อ ไปจนถึงรับประกันว่าเครื่องบิ นและรถเช่าหลายล้านคันนั้นอยู่ อย่างถูกที่ ถูกเวลา
ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.fico.com
ร่วมพูดคุยบนทวิตเตอร์ @FICOnews_APAC
FICO เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบี ยนของ Fair Isaac Corporation ในสหรัฐอเมริกาและประเทศอื่นๆ
No comments:
Post a Comment